Link Copied
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอนโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี 2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
การพยากรณ์อากาศ+
โอโซน+
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฏการณ์ลานีญา
ปรากฏการณ์เอนโซ่
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse effect
ปัจจัยทางธรรมชาติที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ+
ฤดูกาล,ฤดูกาลของโลก,ฤดูกาลของประเทศไทย
พายุหมุนเขตร้อน+
ชื่อพายุโซนร้อนปี 2565, ดีเปรสชั่น, โซนร้อน, ไต้ฝุ่น
เกณฑ์อากาศ
เวลามาตรฐาน,การประกาศใช้เวลามาตรฐานของประเทศไทย
แผ่นดินไหว+
ภัยธรรมชาติในประเทศไทย
สถิติแผ่นดินไหว
สถิติแผ่นดินไหวในประเทศไทย แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งตรวจวัดโดย กรมอุตุนิยม วิทยา มีขนาดอยู่ในระดับเล็กถึงปานกลาง (ไม่เกิน 6.0 ริคเตอร์) หากเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่พอก็ จะส่งแรงสั่นสะเทือนมายังประเทศไทย ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายเล็กน้อยต่อสิ่งก่อสร้างใกล้ศูนย์กลาง โดยมีรายละเอียดดังนี้
1.แผ่นดินไหวเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2518 ขนาด 5.6 ริคเตอร์บริเวณ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก
2.แผ่นดินไหวเมื่อ 15 เมษายน 2526 ขนาด 5.5 ริคเตอร์ บริเวณ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
3.แผ่นดินไหว เมื่อ 22 เมษายน 2526 ขนาด 5.9 ริคเตอร์ บริเวณ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
4.แผ่นดินไหวเมื่อ 22 เมษายน 2526 ขนาด 5.2 ริคเตอร์ บริเวณ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
5.แผ่นดินไหวเมื่อ 11 กันยายน 2537 ขนาด 5.1 ริคเตอร์ บริเวณ อ.พาน จ.เชียงราย
6.แผ่นดินไหวเมื่อ 9 ธันวาคม 2538 ขนาด 5.1 ริคเตอร์ บริเวณ อ.ร้องกวาง จ.แพร่
7.แผ่นดินไหวเมื่อ 21 ธันวาคม 2538 ขนาด 5.2 ริคเตอร์ บริเวณ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่
8.แผ่นดินไหวเมื่อ 22 ธันวาคม 2539 ขนาด 5.5 ริคเตอร์ บริเวณพรมแดนไทย-ลาว
เหตุการณ์แผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทย (2542-สิงหาคม 2543) วัน เดือน ปี บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหว
31 สิงหาคม 2542 :ใกล้ พรมแดนไทย-ลาว ขนาด 4.8 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่จังหวัดน่าน
3 เมษายน 2542 :ใกล้ พรมแดนไทย - พม่า ขนาด 3.2 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
29 มิถุนายน 2542 :ในประเทศพม่าขนาด 5.6 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ จังหวัดเชียงราย
15 สิงหาคม 2542 :ตอนใต้ของประเทศพม่า ขนาด 5.6 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่จังหวัดเชียงใหม่
17 สิงหาคม 2542 :บริเวณทะเลอันดามัน ขนาด 2.1 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ จังหวัดภูเก็ตและ จังหวัดพังงา
29 สิงหาคม 2542 :บริเวณทะเลอันดามัน ขนาด 2.1 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ จังหวัดภูเก็ตและ จังหวัดพังงา
20 มกราคม 2543 :ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ขนาด 5.9 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่ จังหวัดน่าน แพร่ พะเยา เชียงราย มีความเสียหายที่ จังหวัดน่านและแพร่
14 เมษายน 2543 :ที่พรมแดนลาว-เวียดนาม ขนาด 4.9 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่จังหวัดสกลนคร
29 พฤษภาคม 2543 :บริเวณ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 3.8 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่อำเภอเมือง อำเภอสันกำแพง และอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
7 สิงหาคม 2543 :บริเวณพรมแดนไทย - พม่า ขนาด 3.0 ริคเตอร์ รู้สึกได้ที่บริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
อัตราเฉลี่ยของการเกิดแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในรอบ 10 ปี ระหว่าง 2533-2542 ประมาณปีละ 8 ครั้ง โดยตำแหน่งของแผ่นดินไหวรู้สึกได้ส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณภาคเหนือ