ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
หน้าหลัก
พยากรณ์อากาศ
พยากรณ์อากาศ
พยากรณ์อากาศประจำวัน
พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า
พยากรณ์อากาศรายเดือน
พยากรณ์อากาศราย 3 เดือน
คาดหมายอากาศรายฤดู
เตือนภัยและแผ่นดินไหว
ประกาศเตือนภัย
แผนที่สภาพอากาศ
เส้นทางเดินพายุ
รายงานแผ่นดินไหว
สภาพอากาศ
รายจังหวัด
รายภาค
ทั่วประเทศ
รายงานอากาศต่างประเทศ
พยากรณ์การบินและเดินเรือ
อุตุนิยมวิทยาการบิน
พยากรณ์อากาศเพื่อการเดินเรือ
พยากรณ์คลื่นทะเล
ภัยจากคลื่นลมในทะเล
พยากรณ์การเกษตร
อุตุนิยมวิทยาการเกษตร
ลักษณะอากาศรายวันเพื่อการเกษตร
ดรรชนีความชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
ข้อมูลสนับสนุน
เรดาร์ตรวจอากาศ
เครือข่ายเรดาร์
เรดาร์คอมโพสิท
ภาพถ่ายจากดาวเทียม
วิเคราะห์ภาพดาวเทียม
แผนที่อากาศ
ภูมิอากาศบนกูเกิ้ลเอิร์ท
GIS & Agromet
ระบบตรวจอากาศอัตโนมัติ (AWS)
พยากรณ์อากาศด้วย HPC
พยากรณ์ฝนเชิงพื้นที่ด้วย HPC
พยากรณ์ฝนกรุงเทพฯ (WRF BKK Model)
เวลาพระอาทิตย์ขึ้น-ตก
ภูมิอากาศ
สรุปลักษณะอากาศ
รายวัน
รายสัปดาห์
รายเดือน
รายปี
สถิติภูมิอากาศ
อุณหภูมิต่ำสุด
อุณหภูมิสูงสุด
สถิติอุณหภูมิ
แผนภูมิข้อมูลภูมิอากาศ
สถิติพายุหมุนเขตร้อน
อื่น ๆ
ปรากฎการณ์เอลนีโญ ลานีญา
ผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อประเทศไทย
เหตุการณ์ลมฟ้าอากาศสำคัญทั่วโลก
ศูนย์ภูมิอากาศ
บริการ
เอกสารดาวน์โหลด
รายงานผลการตรวจวัดข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
รายงานฝนอำเภอล่าสุด
พยากรณ์อากาศประจำวัน
พยากรณ์อากาศ 7 วันรายภาค
บริการข้อมูล
Widget สภาพอากาศ
ข้อมูลเปิดรูปแบบ API
ข้อมูลเปิดรูปแบบ RSS
บริการข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
เอกสารอุตุนิยมวิทยา
อื่น ๆ
แอปพลิเคชัน
วิทยุกรมอุตุนิยมวิทยา
อัตลักษณ์องค์กร
|
ค้นหา
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
พยากรณ์อากาศ
เตือนภัยและแผ่นดินไหว
ประกาศเตือนภัย
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
Link Copied
เมนู
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
เหตุการณ์พิเศษ
รายงานแผ่นดินไหว
รายงานแผ่นดินไหวต่างประเทศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
เหตุการณ์พิเศษ
รายงานแผ่นดินไหว
รายงานแผ่นดินไหวต่างประเทศ
คลื่นลมแรงและฝนตกหนักถึงหนักมาก ฉบับที่ 6 (166/2566) (มีผลกระทบถึงวันที่ 6 มิถุนายน 2566)
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง
วันที่ข้อมูล:
02 มิถุนายน 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
คลื่นลมแรงและฝนตกหนักถึงหนักมาก ฉบับที่ 5 (165/2566) (มีผลกระทบถึงวันที่ 6 มิถุนายน 2566)
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง โดยทะเลอันดามันมีคลื่นสูง 2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร
วันที่ข้อมูล:
02 มิถุนายน 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 5 (154/2566) (มีผลกระทบถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2566)
ในช่วงวันที่ 27-30 พฤษภาคม 2566 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามตอนล่างจะเคลื่อนผ่านประเทศไทยและลงสู่อ่าวมะตะบัน ประเทศเมียนมา
วันที่ข้อมูล:
27 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 4 (153/2566) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566)
ในช่วงวันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามตอนล่างจะเคลื่อนผ่านประเทศไทยและลงสู่อ่าวมะตะบัน ประเทศเมียนมา
วันที่ข้อมูล:
27 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 3 (152/2566) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566)
ในช่วงวันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามตอนล่างจะเคลื่อนผ่านประเทศไทยและลงสู่อ่าวมะตะบัน ประเทศเมียนมา
วันที่ข้อมูล:
26 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 2 (151/2566) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566)
ในช่วงวันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามจะเคลื่อนผ่านประเทศไทยและลงสู่อ่าวมะตะบัน ประเทศเมียนมา
วันที่ข้อมูล:
26 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณประเทศไทย และคลื่นลมแรงบริเวณทะเลอันดามัน ฉบับที่ 1 (150/2566) (มีผลกระทบตั้งแต่วันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566)
ในช่วงวันที่ 27 - 30 พฤษภาคม 2566 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณประเทศเวียดนามจะเคลื่อนผ่านประเทศไทยและลงสู่อ่าวมะตะบัน ทำให้ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้น กับมีลมกระโชกแรง และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง
วันที่ข้อมูล:
25 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุไซโคลน “โมคา” (มีผลกระทบถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2566) ฉบับที่ 11 (149/2566)
เมื่อเวลา 10.00 น.ของวันนี้ (15 พ.ค. 66) พายุไซโคลน “โมคา” ที่ปกคลุมประเทศเมียนมา ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันแล้ว ที่ละติจูด 24.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 96.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 56 กม./ชม. พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยความเร็วประมาณ 37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีแนวโน้มจะอ่อนกำลังลง เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงในระยะต่อไป
วันที่ข้อมูล:
15 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุไซโคลน “โมคา” (มีผลกระทบถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2566) ฉบับที่ 10 (148/2566)
เมื่อเวลา 04.00 น.ของวันนี้ (15 พ.ค. 66) พายุไซโคลน “โมคา” ปกคลุมบริเวณรัฐซะไกง์ ประเทศเมียนมา หรือที่ละติจูด 23.8 องศาเหนือ ลองจิจูด 95.8 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 93 กม./ชม. พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกค่อนทางเหนือเล็กน้อย ด้วยความเร็วประมาณ 37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
วันที่ข้อมูล:
15 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุไซโคลน “โมคา” (มีผลกระทบถึงวันที่ 16 พฤษภาคม 2566) ฉบับที่ 9 (147/2566)
มื่อเวลา 16.00 น.ของวันนี้ (14 พ.ค. 66) พายุไซโคลน “โมคา” ได้เคลื่อนขึ้นชายฝั่งเมืองซิตตเว รัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา หรือที่ละติจูด 20.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 92.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 190 กม./ชม.
วันที่ข้อมูล:
14 พฤษภาคม 2566
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ