ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
หน้าหลัก
พยากรณ์อากาศ
พยากรณ์อากาศ
พยากรณ์อากาศประจำวัน
พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า
พยากรณ์อากาศรายเดือน
พยากรณ์อากาศราย 3 เดือน
คาดหมายอากาศรายฤดู
เตือนภัยและแผ่นดินไหว
ประกาศเตือนภัย
แผนที่สภาพอากาศ
เส้นทางเดินพายุ
รายงานแผ่นดินไหว
สภาพอากาศ
รายจังหวัด
รายภาค
ทั่วประเทศ
รายงานอากาศต่างประเทศ
พยากรณ์การบินและเดินเรือ
อุตุนิยมวิทยาการบิน
พยากรณ์อากาศเพื่อการเดินเรือ
พยากรณ์คลื่นทะเล
ภัยจากคลื่นลมในทะเล
พยากรณ์การเกษตร
อุตุนิยมวิทยาการเกษตร
ลักษณะอากาศรายวันเพื่อการเกษตร
ดรรชนีความชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
ข้อมูลสนับสนุน
เรดาร์ตรวจอากาศ
เครือข่ายเรดาร์
เรดาร์คอมโพสิท
ภาพถ่ายจากดาวเทียม
วิเคราะห์ภาพดาวเทียม
แผนที่อากาศ
ภูมิอากาศบนกูเกิ้ลเอิร์ท
GIS & Agromet
ระบบตรวจอากาศอัตโนมัติ (AWS)
พยากรณ์อากาศด้วย HPC
พยากรณ์ฝนเชิงพื้นที่ด้วย HPC
พยากรณ์ฝนกรุงเทพฯ (WRF BKK Model)
เวลาพระอาทิตย์ขึ้น-ตก
ภูมิอากาศ
สรุปลักษณะอากาศ
รายวัน
รายสัปดาห์
รายเดือน
รายปี
สถิติภูมิอากาศ
อุณหภูมิต่ำสุด
อุณหภูมิสูงสุด
สถิติอุณหภูมิ
แผนภูมิข้อมูลภูมิอากาศ
สถิติพายุหมุนเขตร้อน
อื่น ๆ
ปรากฎการณ์เอลนีโญ ลานีญา
ผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อประเทศไทย
เหตุการณ์ลมฟ้าอากาศสำคัญทั่วโลก
ศูนย์ภูมิอากาศ
บริการ
เอกสารดาวน์โหลด
รายงานผลการตรวจวัดข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
รายงานฝนอำเภอล่าสุด
พยากรณ์อากาศประจำวัน
พยากรณ์อากาศ 7 วันรายภาค
บริการข้อมูล
Widget สภาพอากาศ
ข้อมูลเปิดรูปแบบ API
ข้อมูลเปิดรูปแบบ RSS
บริการข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
เอกสารอุตุนิยมวิทยา
อื่น ๆ
แอปพลิเคชัน
วิทยุกรมอุตุนิยมวิทยา
อัตลักษณ์องค์กร
|
ค้นหา
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
ภาษาไทย
English
สายด่วน อต. 1182
พยากรณ์อากาศ
เตือนภัยและแผ่นดินไหว
ประกาศเตือนภัย
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
Link Copied
เมนู
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
เหตุการณ์พิเศษ
รายงานแผ่นดินไหว
รายงานแผ่นดินไหวต่างประเทศ
ประกาศเตือนภัยลักษณะอากาศ
เหตุการณ์พิเศษ
รายงานแผ่นดินไหว
รายงานแผ่นดินไหวต่างประเทศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 2 (302/2567)
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ภาคใต้มีฝนเพิ่มขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณจังหวัดพังงา กระบี่ ตรัง และสตูล
วันที่ข้อมูล:
21 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
ฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ ฉบับที่ 1 (301/2567)
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ภาคใต้มีฝนเพิ่มขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณจังหวัดพังงา กระบี่ ตรัง และสตูล
วันที่ข้อมูล:
20 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 10 (300/2567)
เมื่อเวลา 07.00 น. ของวันนี้ (20 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อน “หม่านหยี่” ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชัน และเมื่อเวลา 10.00 น. ได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนแล้ว
วันที่ข้อมูล:
20 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 9 (299/2567)
เมื่อเวลา 04.00 น. ของวันนี้ (20 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อน “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 186 กิโลเมตร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะไหหลำ ประเทศจีน หรือที่ละติจูด 17.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 111.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ด้วยความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีน และจะอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่น และหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงตามลำดับต่อไปในวันนี้ (20 พ.ย. 2567) โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยและไม่มีผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทยโดยตรง ขอให้ผู้ที่จะเดินทางไปบริเวณดังกล่าวตรวจสอบสภาพอากาศก่อนออกเดินทางในช่วงวันดังกล่าวไว้ด้วย
วันที่ข้อมูล:
20 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 8 (298/2567)
เมื่อเวลา 22.00 น. ของวันนี้ (19 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อน “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 143 กิโลเมตร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะไหหลำ ประเทศจีน หรือที่ละติจูด 17.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 111.6 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีน และจะอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่น และหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงตามลำดับต่อไปในวันพรุ่งนี้ (20 พ.ย. 2567) โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยและไม่มีผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทยโดยตรง ขอให้ผู้ที่จะเดินทางไปบริเวณดังกล่าวตรวจสอบสภาพอากาศก่อนออกเดินทางในช่วงวันดังกล่าวไว้ด้วย
วันที่ข้อมูล:
19 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 7 (297/2567)
เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (19 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อน “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 200 กิโลเมตร ทางทิศตะวันออกของเกาะไหหลำ ประเทศจีน หรือที่ละติจูด 18.6 องศาเหนือ ลองจิจูด 112.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 83 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีนในช่วงวันที่ 19-20 พ.ย. 2567 และจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยและไม่มีผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทยโดยตรง
วันที่ข้อมูล:
19 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 6 (296/2567)
เมื่อเวลา 10.00 น. ของวันนี้ (19 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อนกำลังแรง “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 114.1 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 93 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีนในช่วงวันที่ 19-20 พ.ย. 2567 และจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย
วันที่ข้อมูล:
19 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 5 (295/2567)
เมื่อเวลา 04.00 น. ของวันนี้ (19 พ.ย. 2567) พายุโซนร้อนกำลังแรง “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 115.1 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีนในช่วงวันที่ 19-20 พ.ย. 2567 และจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย
วันที่ข้อมูล:
19 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 4 (294/2567)
เมื่อเวลา 19.00 น. ของวันนี้ (18 พ.ย. 2567) พายุไต้ฝุ่น “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรงแล้ว และเมื่อเวลา 22.00 น. มีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 115.7 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีนในช่วงวันที่ 19-20 พ.ย. 2567 และจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย
วันที่ข้อมูล:
18 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ
พายุ “หม่านหยี่” ฉบับที่ 3 (293/2567)
เมื่อเวลา 16.00 น. ของวันนี้ (18 พ.ย. 2567) พายุไต้ฝุ่น “หม่านหยี่” บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือค่อนตะวันตกเล็กน้อย ด้วยความเร็วประมาณ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้เกาะไหหลำ ประเทศจีนในช่วงวันที่ 19-20 พ.ย. 2567 และจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ โดยพายุนี้ไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย
วันที่ข้อมูล:
18 พฤศจิกายน 2567
|
|
หมวดหมู่:
พยากรณ์
|
หน่วยงาน:
กองพยากรณ์อากาศ